กองทุนยั่งยืน

มอร์นิ่งสตาร์นิยามกลยุทธ์การลงทุนว่าเป็น "การลงทุนอย่างยั่งยืน" โดยดูจากวัตุประสงค์ในการลงทุน ว่าได้มีการให้ความสำคัญในด้านการลงทุนที่เน้นความยั่งยืน การสร้างผลกระทบทางสังคม หรือเน้นปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และ ธรรมาภิบาล (ESG) ตามที่ระบุไว้ในหนังสือชี้ชวนหรือเอกสารทางการอื่นที่มีการกำกับดูแล การจัดประเภทกองทุนให้อยู่ในกลุ่ม "การลงทุนอย่างยั่งยืน" นั้น ไม่ได้วัดจากการลงทุนว่ามีประสิทธิภาพมากน้อยเพียงใด แต่จะเป็นการแสดงว่ามีการลงทุนที่สะท้อนวัตถุประสงค์ที่ระบุไว้หรือไม่ screener

ชื่อกองทุน
ประเภทกองทุนแบ่งตามมอร์นิ่งสตาร์
Sustainable Investment
Sustainability Rating
Low Carbon
Representative Cost
มอร์นิ่งสตาร์เรตติ้ง
กองทุนเปิด ไทย บาลานซ์ฟันด์ Moderate Allocation No No 1.24
กองทุนเปิดบัวหลวงหุ้น 25% เพื่อการเลี้ยงชีพ Conservative Allocation No No 1.02
กองทุนเปิดบีเฟล็กซ์ Conservative Allocation No No 0.95
กองทุนเปิดเอ็มเอฟซีคุ้มครองเงินต้นเพื่อการเลี้ยงชีพ Capital Protected No 0.61
กองทุนเปิด ทิสโก้ ไชน่า อินเดีย เพื่อการเลี้ยงชีพ Country Focus Equity No No 1.64
กองทุนเปิด อเบอร์ดีน สมอล-มิดแค็พ - ชนิดสะสมมูลค่า Equity Small/Mid-Cap No 2.03
กองทุนเปิดเคเคพี บาลานซ์เพื่อการเลี้ยงชีพ Moderate Allocation No No 1.46
กองทุนเปิด ทิสโก้ ไชน่า อินเดีย ดิวิเดนด์ ฟันด์ Country Focus Equity No No 1.66
กองทุนเปิดไทยพาณิชย์ แพลทตินัม โกลบอล ฟันด์ Global Equity No No 1.06
กองทุนเปิดพรินซิเพิล มุ่งรักษาเงินต้นเพื่อการเลี้ยงชีพ Capital Protected No 0.17
กองทุนเปิดกาญจนอนันต์ Moderate Allocation No No 1.97
กองทุนเปิดแอสเซทพลัสหุ้นระยะยาวชนิดจ่ายเงินปันผลและมีสิทธิประโยชน์ทางภาษี Equity Small/Mid-Cap No 1.84
กองทุนเปิดรวงข้าวดุลทรัพย์ Moderate Allocation No No 1.37
กองทุนเปิดเค ไลฟ์สไตล์ 2530 Moderate Allocation No No 1.26
กองทุนเปิดกรุงศรีหุ้นปันผล Equity Large-Cap No No 2.33
กองทุนเปิด ทิสโก้ เวลธ์ บาลานซ์ Moderate Allocation No No 1.35
กองทุนเปิดเค ไลฟ์สไตล์ 2510 Conservative Allocation No No 1.08
กองทุนเปิด อเบอร์ดีน เฟล็กซิเบิ้ล แคปปิตอล Moderate Allocation No 1.28
กองทุนเปิดอีสท์สปริง เสถียรทรัพย์ปันผล Moderate Allocation No No 1.45
กองทุนเปิด อเบอร์ดีน แวลู Conservative Allocation No 1.24